วันจันทร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2564

แปะผา รีวิวความทนทาน ของหูฟังที่ poipoi เคยใช้ ในช่วง2ปี

 แปะผา รีวิวความทนทาน ของหูฟังที่ poipoi เคยใช้  ในช่วง2ปี  แปะฝาไว้ บล็อกนี้ไม่ค่อยมีคนอ่าน เก็บไว้เตือนความจำตัวเอง

การรีวิวนี้ จากการใช้งานจริง แบบปกติ ส่วน ว่าจะโชคร้าย ได้ของเน่าหรือไม่ อันนี้ไม่ทราบ แต่ว่า มีของ เน่า 1:50 ไม่ใช่เรื่องแปลก  คนอ่านต้องไปดูสถิติคนใช้งานหลายๆคนเพื่อเปรียบเทียบกันเอง

รีวิว อายุการใช้งาน และอาการเสีย เท่านั้น 
สำหรับคนที่แคร์ เรื่อง อายุการใช้งาน และความทนทาน อ่านไว้ ไม่เสียหาย

1.Headset  Razer Tiamat 7.1 V2  ประกัน 2ปี
ใช้ได้ 11เดือน เสีย อาการ ตอนแรก ติดๆดับๆ ตรงที่ปรับเสียง รีคอมใหม่ แล้ว ก็เปิดได้ หลังๆเริ่มติดๆดับๆถี่ขึ้นๆ จนดับแล้วทำยังไงก็ไม่ติดอีกเลย เคลม ได้เงิน คืนมา 50% เซ็งกุเต่ย sound card ที่ซื้อมาใช้ร่วมกัน ยังไม่เสียเลย




2.SKULLCANDY  jIB+ ACTIVE  ประกัน 1ปี อายุใช้งาน 6เดือน หรือต่ำกว่านั้น ตอนแรกซื้อมาพัน ราคาเต็มมัน 1,2xx มั้ง? ตอนนี้ขายกัน 790 เอง อาการ เสียงออกข้างเดียว ไม่ได้เคลม ขีเกียด ( อันนี้ไปหาข้อมูลของฝรั่ง เขาบอกว่าทั้งถูกและเสียงดี แต่ว่าเสียง่ายเป็นบ้า คียสำหรับค้นหา "skullcandy jib active one ear not working" )


3. logitech g433  ประกัน 2 ปี  ใช้ประมาณ2ปีหรือปีกว่า ไม่แน่ในใจ อาการ หัก  พลาสติกหักตรงหมุน ไม่ได้เคลม เพราะไม่เข้าเงื่อนไข



4.Realme Buds Air  19xx ประกัน 1 ปี ตอนนี้ 13 เดือนยังไม่เสีย แต่แบต เสื่อม ไปนาน แต่ เสื่อมไม่มาก 





สรุป เรียงตามความทนทาน เทียบกับเวลารับประกัน  ไม่ได้เรียงตามคุณภาพเสียง
1.
Realme Buds Air  ใช้ได้เกินประกันให้  110%

2.logitech g433 อันนี้พลาสติกมันกรอบ เสื่อม ก็ให้ 100%

3.SKULLCANDY  jIB+ ACTIVE อันนี้ 50%

4.Headset  Razer Tiamat 7.1 V2  46% เพราะแค่ 11เดือน ไม่ถึงครึ่ง จริงๆก่อนหน้าก็มีอาการไม่พึงประสงค์คือ ติดๆดับ ต้องรีคอมใหม่





 


วันจันทร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2564

เปิดจุดอ่อน 3 ประการของบิทคอยน์ และข้อโต้แย้ง

จาก
 BF Morning Brief - 21 มิถุนายน 2564
20 มิถุนายน 2564

HIGHLIGHT
เปิดจุดอ่อน 3 ประการของบิทคอยน์

แม้ว่าบิทคอยน์จะได้รับความนิยมสุดๆ ในบรรดาคริปโตเคอเรนซีทั้งหลาย แต่ว่า Aswar Prasad ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ออกมาบอกว่า ความจริงแล้วบิทคอยน์มีจุดอ่อน 3 ประการที่ควรจะพิจารณา

ประการแรกคือ บิทคอยน์ไม่ได้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การขุดบิทคอยน์ต้องใช้พลังงานมหาศาล ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้จีนก็มีการสั่งห้ามไม่ให้ขุดบิทคอยน์ในจีน เนื่องจากใช้พลังงานสิ้นเปลืองมาก และกลุ่มที่ต่อต้านบิทคอยน์ บอกว่า การขุดบิทคอยน์ทำให้มีการใช้พลังงาน ซึ่งจะส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปในชั้นบรรยากาศ เป็นส่วนหนึ่งทำให้เกิดโลกร้อน

ประการที่ 2 บิทคอยน์ไม่ได้ปลอดภัยจริงๆ หรือไม่ได้ปกปิดความเป็นเจ้าของ อย่างเช่นล่าสุดที่สำนักงานสอบสวนกลาง หรือ FBI ของสหรัฐฯ สามารถตามล่านำเงินค่าไถ่ที่กลุ่มแฮกเกอร์ DarkSide เรียกค่าไถ่จากบริษัท Colonial Pipeline กลับมาได้ 2.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ประการที่ 3 บิทคอยน์ทำหน้าที่เป็นเงินตราได้ไม่ดี เนื่องจากเวลาทำธุรกรรมยังคงไม่สะดวกรวดเร็ว รวมทั้งราคาบิทคอยน์ขึ้นๆ ลงๆ มีความผันผวนมากทีเดียว วันหนึ่งอาจจะใช้มูลค่าบิทคอยน์ไปซื้ออาหารหรูรับประทานได้ แต่วันหนึ่งอาจจะใช้มูลค่าบิทคอยน์ซื้อได้เพียงกาแฟแก้วเดียว




ข้อมูล จากฝ่ายสนับสนุน BTC 

1. BTC ใช้พลังงานไม่ถึง 0.1% ของพลังงานทั้งโลกที่ใช้+ที่เสียไปเล่าๆ และ กว่า70% เป็นพลังงานสะอาด

2.1 บิทคอย โปร่งใส ยิ่งกว่าธนาคาร รู้ว่า มีเงินเท่าไหร่โอนไปให้ใคร ฯลฯ และตามได้ยันธรุกรรมแรก ดังนั้นการที่ จะให้BTC ในเรื่องพวกนี้ คือแปลกประหลาด
2.2 FBI ไม่ได้แฮก BTC หรือโนด แต่อย่างใด 

3.1 ความล่าช้าเกิดจากการ รอคอนเฟิร์ม ปิดบล็อก เฉลี่ย 15นาทีต่อบล็อก จริงๆเงินมาถึงแล้ว แต่ยังไม่คอนเฟิร์ม และตอนนี้ ความช้านี้แก้ไขด้วยการใช้ Lightning network
3.2 ตัวอย่างแอลซัลวาดอร์ การทำธุรรกรรม ในการแลกเปลียนไปกลับ ระหว่าง Stablecoin และ BTC รวม การโอกเข้าออก เกิดขึ้นไม่กี่วินาที ทำให้การผันผวน แทบจะไร้ผล ส่วนการผันผวน ถ้าBTC ยังไม่ตาย ไม่ล้มหายไปซะก่อน ความผันผวนจะน้อยลงเรื่อยๆ  

ปล.คนที่อยากลงทุน คือคน ที่สามารถ เสียเงินลงทุนได้ทั้งหมด นะครับ และ poipoi ไม่แนะนำให้ใครมาลงทุนแต่อย่างใด

วันพุธที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2564

ความสัมพันธ์ ของ แอลจีเรีย กับ ฝรั่งเศส ในยุคล่าอาณานิคม

 

ความสัมพันธ์ ของ แอลจีเรีย กับ ฝรั่งเศส ในยุคล่าอาณานิคม

ส่วน รอบนี้ จะมาเล่าเรื่อง สงคราม ระหว่าง แอลจีเรีย กับ ฝรั่งเศส ซึง ช่วงนั้นเป็นช่วง ยุคล่าอาณานิคม  อันนี้ มีบันทึก มีภาพ ฯลฯ   ( แต่ มาหาข้อมูลหลังจากผ่านไป เป็นร้อยปี นี้ หายากมาก  เพราะถ้ายังมีอยู่ มันทำให้ บางประเทศดูแย่ )
จะว่าไป ผมไปเจอภาพนี้ จากทวีต ของ คุณ @LadyVelvet_HFQ  ซึ่งได้อธิบายไว้ว่า
"French soldiers chopped off Algerian farmers heads and abused their women for over a century. Here are the photos to prove it."
แปลความได้ว่า  "ทหารฝรั่งเศสตัดศีรษะชาวนาแอลจีเรียและทำร้ายผู้หญิงของพวกเขามานานกว่าศตวรรษ นี่คือภาพถ่ายที่จะพิสูจน์ได้"

https://twitter.com/LadyVelvet_HFQ/status/1319234960688095232

https://twitter.com/LadyVelvet_HFQ/status/1319234960688095232

https://twitter.com/LadyVelvet_HFQ/status/1319234960688095232

 ถ้าถามว่า เข้าไปทำไม ก็เข้าไปปล้น ทรัพยากร นั่นละ เป็นเรื่องปกติของยุคนั้น  หรือจะว่าเป็นเรื่องปกติของ ลัทธิอาณานิคม ก็ได้ ซึ่งตอนนั้น แอลจีเรีย ถือว่าเป็นจังหวัดหนึ่งของ ฝรั่งเศส
ถ้าไปย้อนดูการรบ ปกติ ต้องเป็นทหารกับทหารไม่ทำร้ายชาวบ้าน โดยเฉพาะ พวกที่อ้างว่าตนเป็นพวก ศิวิไลซ์ (civilize)  แล้วไปรบกับคนป่าที่ด้อยกว่า ยิ่งไม่ได้
แต่ในความเป็นจริง พวกที่มีความ ศิวิไลซ์ ดันไม่รบกับกองทัพตรงๆ ทั้งที่ตนเหนือกว่ามากกลับไป ไล่เผาหมู่บ้านประชาชนแทน ซะงั้น จน เขายอม
ซึ่งตัวเลข ประชากร แอลจีเรีย  เห็นว่าหายไปเกิบครึ่ง บ้างก็บอกว่า 30% แต่ว่า เจ้าอาณานิคม เขาก็ไม่อยากจะดูแย่ อ่ะนะ
เอาเป็นว่า คนแอลจีเรีย  ก็กลายเป็นคนชั้นสามในตอนนั้น ( เอาตรงๆควรจะมีแค่ชั้นสองใช่ไหมละ ? อ่านต่อไป)
เอาละ หลังจากชาวแอลจีเรีย โดนกดหัวอยู่นาน ก็ ลุกขึ้นสู้ จนเกิด สงครามแอลจีเรีย (الثورة الجزائرية) ซึ่งวิกี บอกไว้น้อยมาก ต้องไปหาที่อื่นต่อ   ซึ่งเอาตรงๆ ชาว แอลจีเรีย บันทึกข้อมูลความเหี้ยม เอาไว้มากมาย  มีหนังด้วย ไปหาเอาได้
ตัดมา ตอนจบ
 เอาเป็นว่า ชาว แอลจีเรีย โกรษแค้นฝรั่งเศส โคตรๆ รวมไป ถึง พวก Harkis (ฮาร์คีส์ : ทหารพื้นเมืองแอลจีเรียซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยในกองทัพฝรั่งเศส)  ซึ่ง ก็เหมือนเป็นคนทรยศ นั่นละ
อันนี้ก็เป็นเรื่องเล่า จากอีกฝั่งหนึ่ง ( ชนชั้นสอง ที่ไม่ได้กล่าวถึงก่อนหน้า )  จากบทความ

50 Years After the Algerian War, Harkis Still Wait for French Apology

The French Army's exhibition on its 130 years in Algeria does the unthinkable. It recognizes its widespread use of torture during the Algerian War for Independence. One curator says this exhibit heralds a new era in openness in the military, with regard to France's colonial period. In this photo French military personnel are seen torturing a suspected FLN member.
https://www.pri.org/stories/2012-07-19/50-years-after-algerian-war-harkis-still-wait-french-apology




This year marks the 50th anniversary of Algeria's independence from France. Freedom was won through war, one that saw terrible atrocities committed by both sides. Despite that history, relations today between the nations have pretty much normalized. France is Algeria's largest trading partner. Hundreds of thousands of Algerians live in France. But there's a small group of Algerians who have never found reconciliation. They are the Harkis; they fought on the French side during the war, against their own countrymen. Serge Karel, who started life with an Arabic name, joined the French army in 1957. "I enlisted, becoming a Harki, because my father had fought for the French in WWI," Karel said. "Both my brothers fought for France in Indochina. For me serving France was the obvious thing to do. It was impossible to consider joining the other side." Karel was one of some 250,000 Harki who defended colonial France from Algerian independence fighters. When France was driven out in 1962, Karel expected to retreat to Europe with his French comrades. "But our commanders gathered us all together, took away our weapons, and just wished us good luck. I thought they were joking," Karel said. They weren't. The French army, under the government of Charles de Gaulle, left tens of thousands of Harkis behind. The victorious Algerians began to slaughter them, and their families. Karel was caught within days and imprisoned. "Each morning my captors paraded me before the townsfolk who would beat me, spit on me and throw rocks at me," he said. "I was tortured all over my body. They cut slivers off my tongue with wire cutters. My mouth became so infected I couldn't eat." By some miracle, Karel managed to escape and reach France. He was expecting a hero's welcome. Instead, they stuck him in an internment camp. "It wasn't Guantanamo, but it was similar," he said. "It was the shame of France, sticking entire families behind barbed wired like that. It was shameful." Like all the Harkis, Karel was eventually released. He went on to rebuild his life, finding work, starting a family, but he said France has never treated the Harkis well. Now 75, Karel said he understands that some Algerians consider him a traitor, but he can't understand how the French look down on him – sometimes in humiliating and very public ways. In 2006, a French politician named George Freche called the Harkis sub-human. "The French Army massacred your people in Algeria during the colonial period," he said during a confrontation in Montpelier, "and yet you still licked the Frenchman's boots." Some 90,000 Harkis managed to reach France after the war and they are still waiting for an official apology from Paris, said Fatima Besnasi, daughter of a Harki, and head of a national Harki association. "France is probably still ashamed, but I want that shame to be publicly stated," she said. "Above all, I want a French president to declare that France recognizes its responsibility for abandoning the Harkis in 1962, and how that led to the massacres in Algeria. France must also assume responsibility for interning our parents in camps." Movement towards accepting responsibility has been slow. In 2001 then President Jacques Chirac said France hadn't known how to protect her own children, a reference to the Harkis. In 2012 former President Nicolas Sarkozy said France "should have protected the Harkis from history." France's new president, Francois Hollande, has said he would flat out apologize. The Harkis are waiting. But while official France drags its feet, there are signs that French society in general has come to accept France's role in the Harki tragedy. The French Army has also stepped forward. At the Army Museum in Paris there is now an exhibit on the military's 130 year presence in Algeria. In it, the army recognizes its widespread use of torture during the Algerian war; there is even a section, albeit small, on the Harkis themselves. The museum's Emannuel Ronvoisy said 30-years-ago such an exhibit would have been unthinkable. But he said times are changing, and this is just the beginning of a new openness about the French colonial period. That's not all. This year there has been a slew of books, articles and documentaries on the subject. Benjamin Stora, a historian, said he thinks the Harkis have been given their rightful place in history, even if the government hasn't officially apologized. Stora said the Harkis now have their own National Day on September 25 and have monuments in their name. "We now have more French films about the war in Algeria than you Americans have about Vietnam," he said. But he added it's not enough; it seems the Harkis' wounds are too deep to heal. For Serge Karel, turning the page hinges on what France's president says, or doesn't say. The state must speak up, he said, since it was the state that abandoned him. "My life is good now," he said, "but I haven't forgotten anything. President Hollande, he has made the promise. But he must act on it as soon as possible because we Harki are all dying off.

ที่มา https://www.pri.org/stories/2012-07-19/50-years-after-algerian-war-harkis-still-wait-french-apology

ตอนแรก นึกว่า ฮาร์คีส์(Harkis) จะด่า ทหาร แอลจีเรีย ที่ฆ่าล้าง ฮาร์คีส์(Harkis) ไปจนเหี้ยน และกระทำโหดร้ายราวกับเป็นผู้ทรยศ (ก็ เขาคิดงั้นจริงๆนะ ก็เลยจัดหนักจริงๆ)   เอาละ คนเล่า ชื่อ Serge Karel (ขอเรียกว่า คาเรนแล้วกัน )
ซึ่งเขาเล่าว่า พ่อ รบให้ฝรั่งเศสในสงครามโลก ครั้งที่1 และพี่สองคนของเขา รบให้ฝรั่งเศส ในสงครามอินโดนจีน เขาก็เลย ถูกเกณฑ์มาโดยปริยาย 
นี้เป็นหนึ่งใน Harkis จาก สองแสนห้า ที่รบเพื่อฝรั่งเศส แต่ว่าในการรบครั้งนั้น ฝรั่งเศส กับทอดทิ้งพวกเขา ซะงั้น
ตรงที่พีคคือ คาเรน คิดว่าจะได้ถ่อยร่นไปยุโรป แต่ไม่อ่ะ French comrades. "But our commanders gathered us all together, took away our weapons, and just wished us good luck. I thought they were joking คือ ผู้บังคับบัญชาชาวฝรั่งเศสบอกว่า  ให้รวมคนแล้วยิบอาวุธ แล้วออกไป (ไปตาย)  ซึ่งคาเรนก็บอกนึกว่าล้อเล่น แต่เรื่องจริง  สรุป   Harkis แพ้เละ คาเรนถูกจับเป็น ถูก ทรมาณ ขว้างหินทุบตีถมน้ำลาย ตัดลิ้น  แต่ว่า ที่พีค คือคาเรนหนี ไปฝรั่งเศสได้ คิดว่าจะได้กลายเป็น วีรบุรษสงคราม แต่ปล่าวเลย มันตรงข้าม เขาถูกขังที่ค่ายกับกัน ซึ่งคาเรนบอกว่า มันคล้ายกับ คุกกวนตานาโม (ลิงค์ข้อมูลเป็นคุกสมัยใหม่แล้วนะ แต่ ในบทความ คุกยังเป็นแบบเก่าอยู่)
แล้วที่พีค คือคำพูดตรงนี้ he said. "It was the shame of France, sticking entire families behind barbed wired like that. It was shameful." แปล แบบลวกๆว่า“มันเป็นความอัปยศของฝรั่งเศส ที่ยึดทั้งครอบครัวไว้เบื้องหลังลวดหนามแบบนั้น มันน่าละอาย” คือ ฝรั่งเศส ได้กักขัง พ่อแม่ครอบครัว ของ พวกฮาร์คีส์(Harkis) ไว้ในค่ายกักกันอีกด้วย ซึ่ง พวกฮาร์คีส์(Harkis) ได้หนีไปฝรั่งเศสราวๆ เก้าหมื่นคน
แล้วก็ ตอนนี้ คาเรนอายุ 75 ปี เขาบอกว่า เขาเข้าใจได้ว่าทำไม ชาวแอลจีเรีย ถึงมองเขาเป็นคนทรยศ แต่ไม่เข้าใจว่าทำไมฝรั่งเศส ถึงได้ดูถูกเยียดหยามพวกตน  ดูถูกเยียนหยามในที่สาธารณะ  แค่นั้นยังไม่พอ มี นักการเมืองชาวฝรั่งเศสชื่อ George Freche เรียกพวกฮาร์คีส์ ว่าเป็น sub-human ซึ่งแปลว่า สิ่งมีชีวิตคล้ายมนุษย์ หรือแปลว่า สิ่งมีชีวิต ที่ต้อยต่ำกว่ามนุษย์ (of a lower order of being than the human.)
ลองคิดถึง ใจ พวกฮาร์คีส์ ดูสิ ที่ รบให้ฝรั่งเศสแท้ๆ แต่ กลับถูกปฏิบัติแบบนั้น
เขาก็เลย เรียกร้องคำขอโทษ ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการทอดทิ้ง ในการรบ ครั้งนั้น กับฝรั่งเศส แต่ จากปี 2012-2021 ก็ยังไม่มีคำขอโทษ ให้ พวกฮาร์คีส์(Harkis) แต่อย่างใด
เอาเป็นว่า มันก็จบตรงนี้สำหรับ ฮาร์คีส์(Harkis)

แต่ย้อนกลับไป เล่า ต่อ แต่ข้อหาข้อมูลเพิ่มหน่อย เพราะ อ่านไม่ออกเหล่งข้อมูลเป็นภาษา แอลจีเรีย  ส่วน ถ้าจะเอา ข้อมูลจากเจ้าอาณานิคม มันจะกลายเป็นคนละเรื่อง
จบไว้เท่านี้ก่อน เดียว โชคดีได้กลับมาเขียนใหม่
ปล. โดยปกติ ผมตกภาษาอังกฤษ ครับ  ถ้าแปลผิด ก็ ขออภัยด้วย ภาษาอังกฤษ ผมกากจริงๆ ครับ ถึงได้แนบ ต้นฉบับไว้ด้วย

.

.

.

.